1. มีดหมอ หลวงปู่ดู่ วัดสะแก อยุธยา
ชาย หลวง ปู่ ดู่ วัด
สะแก: ไม่ง่ายที่จะจางหายไปและทนต่อการสึกหรอ สร้อย คอ หลวง
ปู่ดู่: ซักมือในน้ําอุ่นด้วยสบู่อ่อนๆหากจําเป็นและเช็ดให้แห้งทันทีการใช้โลหะขัดที่ไม่กัดกร่อนเป็นครั้งคราวจะฟื้นฟูความมันวาว
สร้อยกะลาทองเลเซอร์: ให้ความคมชัดและความทนทานสําหรับงานที่ยากลําบาก
หลวงปู่ดู่วัดสะแก: Max Scrub เป็นอุปกรณ์แร็กเก็ตที่สมบูรณ์แบบสําหรับผู้เล่นที่อายุน้อยกว่าในการเล่นอย่างรวดเร็ว มีดหมอ หลวง
ปู่: ซักมือในน้ําอุ่นด้วยสบู่อ่อนๆหากจําเป็นและเช็ดให้แห้งทันทีการใช้โลหะขัดที่ไม่กัดกร่อนเป็นครั้งคราวจะฟื้นฟูความมันวาว มีดหมอ หลวงปู่ดู่ วัดสะแก อยุธยา มีจารทั้งสองฝั่งใบมีดยาว สร้างปี 2532 ยาว 16 ซม กําเนิดเครื่องรางของขลัง เครื่องรางของขลัง จัดเป็นเรื่องที่ลึกลับและกว้างขวางมาก เป็นความเชื่อโบราณเก่าแก่ที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน ไม่เฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น ในต่างประเทศระดับสากลทั่วโลกก็มีความเชื่อในเรื่องนี้ เพียงแต่แยกย่อยกันไปตามแต่ละท้องถิ่น ในบทความนี้จะกล่าวถึงเครื่องรางของขลังในสังคมไทยเท่านั้น คนไทยต่างก็มีความเชื่อเรื่องเครื่องรางของขลังที่พระคณาจารย์หลายท่านได้สร้างไว้ในแต่ละยุค จะเห็นได้จากการสืบทอดสรรพตําราตกทอดกันมายาวนาน แม้ในตําราพิชัยสงครามยังกล่าวถึงเครื่องรางของขลังที่นักรบสมัยโบราณพกติดตัวไว้ จะมีด้วยกันหลายชนิด ซึ่งแบ่งออกไปตามประเภทย่อยๆ ดังนี้ 1 ของมาจากธรรมชาติ ได้แก่ สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ไม่มีการสรรค์สร้าง ซึ่งถือว่ามีดีในตัวและมีเทวดารักษา สิ่งนั้น ได้แก่ เหล็กไหล คดต่างๆ เขากวางคุด เขี้ยวหมูตัน เขี้ยวเสือกลวง ฯลฯ 2 ของที่สร้างขึ้นมา ได้แก่ สิ่งของที่มนุษย์สร้างขึ้นมา เช่น แร่ธาตุต่างๆ ที่หล่อหลอมตามสูตร การเล่นแร่แปรธาตุ อันได้แก่ เมฆสิทธิ์ เมฆพัด เหล็กละลายตัว สัมฤทธิ์ นวโลหะ สัตตะโลหะ ปัญจโลหะ เป็นต้น ทั้งนี้คลุมไปถึงเครื่องรางลักษณะต่างๆ ที่ได้รับการสร้างขึ้นมาเพื่อคุ้มกันภัยอันตราย แบ่งตามการใช้ 1 เครื่องคาด ได้แก่ เครื่องราง ที่ใช้คาดศีรษะ คาดเอว คาดแขน ฯลฯ 2 เครื่องสวม ได้แก่ เครื่องราง ที่ใช้สวมคอ สวมศีรษะ สวมแขน สวมนิ้ว ฯลฯ 3 เครื่องฝัง ได้แก่ เครื่องราง ที่ใช้ฝังลงไปในเนื้อหนังของคน เช่น เข็มทอง ตะกรุดทอง ตะกรุดสาลิกา และการฝังเหล็กไหล หรือฝังโลหะมงคลต่างๆ ลงไปในเนื้อจะรวมอยู่ในพวกนี้ทั้งสิ้น 4 เครื่องอม ได้แก่ เครื่องราง ที่ใช้อมในปาก เช่น ลูกอม ตะกรุดลูกอม สําหรับในข้อนี้ไม่รวมถึงการอมเครื่องรางชนิดต่างๆที่มีขนาดเล็กไว้ในปาก เพราะไม่เข้าชุด) แบ่งตามวัสดุ 1 โลหะ 2 ผง 3 ดิน 4 วัสดุอย่างอื่น อาทิ กระดาษสา ชันโรง ดินขุยปู 5 เขี้ยวสัตว์ เขาสัตว์ งาสัตว์ เล็บสัตว์ หนังสัตว์ 6 ผมผีพราย ผ้าตราสัง ผ้าห่อศพ ผ้าผูกคอตาย 7 ผ้าทอทั่วไป แบ่งตามรูปแบบลักษณะ 1 ผู้ชาย อันได้แก่ รักยม กุมารทอง ฤาษี พ่อเฒ่า ชูชก หุ่นพยนต์ พระสีสแลงแงง และสิ่งที่เป็นรูปของเพศชายต่างๆ 2 ผู้หญิง อันได้แก่ แม่นางกวัก แม่พระโพสพ แม่ศรีเรือน แม่ซื้อ พระแม่ธรณี และสิ่งที่เป็นรูปของผู้หญิงต่างๆ 3 สัตว์ ในที่นี้ หมายถึง พระโพธิสัตว์ อาทิ เสือ ช้าง วัว เต่า จระเข้ งู เป็นต้น แบ่งตามระดับชั้น 1 เครื่องรางชั้นสูง อันได้แก่ เครื่องรางที่ใช้บนส่วนสูงของร่างกาย ซึ่งนับตั้งแต่ศีรษะลงมาถึงบั้นเอว สําเร็จด้วย พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ 2 เครื่องรางชั้นต่ํา อันได้แก่ เครื่องรางที่เป็นของต่ํา อาทิ ปลัดขิก อีเป๋อ แม่เป๋อ ไอ้งั่ง พ่องั่ง ไม่ได้สําเร็จด้วยของสูง 3 เครื่องรางที่ใช้แขวน อันได้แก่ ธงรูปนก รูปปลา หรือ กระบอกใส่ยันต์และอื่นๆ